วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ข้อเสนอเกี่ยว กับพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารและพัฒนาโครง สร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของจังหวัดมุกดาหาร


เรื่อง        ข้อเสนอเกี่ยวกับพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารและพัฒนาโครง       
                 สร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของจังหวัดมุกดาหาร

เรียน       ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนูญ  ศรีวิรัตน์
      จังหวัดมุกดาหารได้กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดประกอบด้วย (๑) การพัฒนาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม (๒) การพัฒนาด้านการท่องเที่ยว (๓) การพัฒนาการค้าชายแดนและความัมพันร์ระหว่างประเทศ (๔) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติสี่งแวดล้อม และ (๖) การรักษาความมั้น ดั่งนั้น การที่จะให้ยุทธศาสตร์ของจังหวัดมุกดาหารประสบความสำเร็ดได้นั้น จำเป็นอย่างยิงที่จะต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่สารเข้ามาช่วยเพื่อจะสร้างให้จังหวัดมุก ดาหารกลายเป็นจังหวัดที่มีการพัฒนาทางด้านโครงสร้างเทคโนโลยีและการสื่อสารตามแผนแม่บทเทคโนโลยสารสน เทศแลการสื่อสาร (ฉบับที่ ๒) ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๖ 
          ข้าพเจ้านักศึกษาปริญญาโทสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคิดวิเคราะห์ว่าจะพัฒนาระบบสารสนเทศใด เพื่อให้เหมาะสมกับนโยบายประเด็นดังกล่าวรายละเอียดตามอ้างถึง นั้น ประเด็นที่นำเสนอเพื่อพิจารณา สรุปได้ดังนี้
         การที่จะพัฒนาจังหวัดมุกดาหารให้เป็นเมืองแห่งเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร สิ่งที่ควรทำเป็นอันดับแรกคือ การพัฒนาคนหรือประชาชนให้เห็นถึงความสำคัญ เห็นถึงประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีก่อน เมื่อประชาชนเห็นความสำคัญของเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารแล้ว การพัฒนาด้านนี้ก็จะดำเนีนการไปได้อย่างหรวดเหรวและควรยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระบบโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสื่อในการเรียนการสอน ส่งเสริมการนําเทค โนโลยี สารสนเทศมาใช้ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้อย่างจริงจัง, การจะทำเมืองมุกดาหารให้เป็นเมืองไอที ด้วยสัญลักษณ์ MUK-ITC จึงเป็นสิ่งที่ควรดำเนินการอย่างยิ่ง และสิ่งที่ควรดำเนินการคือการกำหนดขอบเขตว่าจะให้ MUK-ITC ครอบคลุมส่วนไหนของจังหวัดมุกดาหารเพื่อให้ตอบสะหนองได้อย่างตัมทีและ ให้ทุกส่วนราชการใส่ Icon ของ MUK-ITC ไว้ที่หน้าแรกเว็บไซต์เพื่อเชื่อมโยงมาที่เว็บไซต์จังหวัดมุกดาหาร www.mukdahan.go.th และกำหนดให้เว็บไซต์จังหวัดมุกดาหารให้มีข้อมูลที่ประกอบ ด้วยภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น เพื่อรองรับการเป็นประชาคนอาเซียน + ๓ (สหรัฐ ญี่ปุ่น จีน) ในปี พ.ศ.๒๕๔๘
            และการให้บริการระบบเครือข่ายไร้สายให้ทัวถึง เพื่อให้บริการนักเรียน นักศึกษา และประชาชนนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการมีความคล่องตัว ควรจัดจุดที่ให้บริการไว้อย่างชัดเจน เช่น บริเวณศูนย์ราชการจังหวัดมุกดาหาร, ทุกๆมหาวิทยาลัย, ตลาดสินค้าต่างๆ และสะถานที่ทีเหมาะสมอื่นๆ เพราะปัจจุบันจังหวัดมุกดาหารมีการให้บริการอินเตอร์ความเร็ว สูงผ่านระบบเครือข่ายไร้สายส่งสัญญาณครอบคลุมบริเวณศูนย์ราชการจังหวัดมุกดาหาร โดยมีสำนักงานจังหวัดมุกดาหารเป็นผู้ควบคุม.

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาด้วยความนับถือ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น